ผู้สมัครงาน
คลังความรู้
ความจงรักภักดี = โอกาสทางธุรกิจ HR ต้องสรรหาคนแบบไหนมาทำงาน ?
องค์กรทั้งหลายจะทำอย่างไรให้พนักงานเจนวาย ซึ่งสำหรับหลายองค์กรก็ได้กลายเป็นคนกลุ่มใหญ่ขององค์กร มีความจงรักภักดีต่อองค์กร ปัญหาการลาออกและต้องรับเข้าใหม่ทดแทนบ่อยครั้ง ย่อมส่งผลกระทบทางลบต่อประสิทธิผลขององค์กรในแง่ต้นทุนที่เป็นตัวเงิน รวมถึงการสูญเสียโอกาสทางธุรกิจหรือความล่าช้าในการให้บริการ และยังส่งผลกระทบไปถึงระบบเศรษฐกิจและการค้า ซึ่งเป็นระบบที่ใหญ่ขึ้นไปอีกด้วย
GEN Y ไม่มีความจงรักภักดีต่อองค์กร จริงหรือ ?
มาถึงยุคที่คนทำงานเจนวายเข้าสู่องค์กรกระทั่งกลายมาเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่แบกรับอนาคตขององค์กรไว้ในมือ เรื่องใหญ่ที่ต้องให้ความสนใจอย่างมากเรื่องหนึ่ง เห็นจะไม่พ้นประเด็นที่คนทำงานเจนไฟแรงนี้ ได้รับการกล่าวถึงว่าไม่ค่อยรักหรือผูกพันกับองค์กร แต่พนักงานเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญที่สุดและส่งผลต่อความสำเร็จขององค์กร อันควรใส่ใจกับการลงทุนเพื่อพัฒนา โดยเฉพาะการสร้างเสริมสมรรถนะ (Competence) และความจงรักภักดีต่อองค์กร (Organizational Loyalty)
ไปสัมภาษณ์งาน “บุคลิกภาพ” สำคัญยิ่งกว่า “ความรู้” จริงหรือ ?
“บุคลิกภาพ” เป็นสิ่งจำเป็นที่แต่ละบุคคลควรให้ความสำคัญ เพราะเป็นส่วนเสริมเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือจากผู้คนรอบข้างได้ ขณะเดียวกันแม้จะมีความรู้ความสามารถมากเพียงใด แต่เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพไม่ดี ก็จะบั่นทอนความสามารถหรือลดความน่าเชื่อถือลงได้ ตัวอย่างการเตรียมตัวเพื่อเสริมภาพลักษณ์ให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี
“หัวหน้างาน” เจอแต่ปัญหา แก้ยังไง ลูกน้องรัก เจ้านายปลื้ม
ในฐานะที่คุณเป็น “หัวหน้า” หน้าที่ที่ต้องทำในองค์กรก็คือต้องคอยรับมือกับปัญหาของงานปฏิบัติที่แม้จะเตรียมการทำงานเป็นอย่างดี ก็ไม่ได้หมายความว่างานนั้นจะราบรื่นอย่างที่เราอยากให้เป็นเสมอไป และสิ่งแรกที่ต้องทำก็คือ
ทัศนคติที่แตกต่าง “น่าจะทำได้” VS “ไม่น่าจะทำได้” ผลลัพธ์คือ...
เพียงคิดว่า "น่าจะทำได้" หรือ "ไม่น่าจะทำได้" ก็เป็นตัวกำหนดการกระทำที่แตกต่างของเราแล้ว และเรื่องที่น่าสนใจก็คือ สิ่งใดทำให้คนเก่งมีความแตกต่างที่โดดเด่นกว่า ?
หางานตามสาขาอาชีพ
JOBBKK.COM © สงวนลิขสิทธิ์ All Right Reserved